บทความที่เกี่ยวข้องกับ: php - Page 2

ตรวจสอบขนาด (length) ของ string ใน PHP ด้วย isset

ในภาษา PHP ปกติเวลาเราจะหาขนาด (length) ของ string เราก็จะใช้ฟังก์ชัน strlen()

แต่วันนี้ผมไปเจออีกวิธีหนึ่งที่ใช้ในการตรวจสอบขนาดของ string อีกวิธีหนึ่งที่น่าสนใจมากครับ

ผมลองเอามาทดสอบดูแล้ว มันก็เร็วกว่าที่เราใช้ฟังก์ชัน strlen() ในการตรวจสอบซะด้วยสิ

การแก้ไขปัญหา PHP Fatal error: Allowed memory size of 8388608 bytes exhausted (tried…

ปัญหานี้จะเกิดขึ้นให้เราเห็นเวลาที่เรานำเข้า (import) ข้อมูลเยอะๆ ครับ สาเหตุถ้าพูดให้เข้าใจง่ายๆ หน่อยก็จะเป็นเพราะเซิฟเวอร์ (server) หรือว่าโฮส (host) ของเราต้องการใช้หน่วยความจำมากกว่าที่กำหนดไว้ในไฟล์ php.ini ปกติแล้วค่าเริ่มต้นจะเป็น 8M ครับ

การติดตั้ง HipHop-PHP บน Ubuntu

หลังจากที่ผมพยายาม complile เจ้าตัว HipHop ตั้งนาน แต่ก็ compileไม่สำเร็จซักที

จนไปเจอตัวที่มีคน compile ไว้แล้ว ซึ่งทำงานได้บน Ubuntu 10.04, Ubuntu 9.10, Ubuntu 9.04 ก็เลยเอามาโพสต์ไว้ซะเลย

เขียนฟังก์ชันเปรียบเทียบเวลาด้วย PHP

ไม่ได้เข้ามาอัพเดทนานแล้วก็เลยหาเรื่องมาลงไว้ซะหน่อย เอาที่เป็นสาระๆ หน่อยก็แล้วกันนานๆ ที ฮ่าๆ เกี่ยวกับการเขียนฟังก์ชันคำนวณระยะเวลาระหว่างวันสองวันก็แล้วกัน เห็นใช้บ่อย เขียนด้วย PHP นะครับ ฟังก์ชันนี้จะรับตัวแปรที่เป็นเวลาในหน่วย วินาที (Unix timestamp)สองตัวด้วยกัน และจะคืนค่าที่คำนวณได้กลับมาในรูปแบบของอาร์เลย์ (array)

วิธีการตั้งค่าให้ CI (Codeigniter) สามารถใช้ได้ทั้ง URI Segment และ Query String

บทความนี้เป็นการบันทึก วิธีการตั้งค่าให้ CI (Codeigniter) สามารถใช้ได้ทั้ง URI Segment และ Query String กันครับ ซึ่งค่าเริ่มต้นถ้าเราไม่เข้าไปเปลี่ยนค่าอะไร ตัว CI จะใช้แบบ URI segment

การจัดการ PHP Error ด้วย htaccess

โดยปกติแล้วเราจะไม่สามารถเข้าไปยุ่งกับไฟล์ php.ini ได้ วิธีการจัดการกับ PHP error ด้วยการ เรียกใช้ฟังก์ชันของตัว PHP เอง

ini_set('display_error',0);
error_reporting(~E_ALL);

แต่ผมไปอ่านเจออีกวิธีที่จะใช้จัดการกับ PHP error คือ การใช้ไฟล์ htaccess ในการจัดการกับ Error

การตัด index.php ออกจาก URL ของ Codeigniter

บันทึกการตัด index.php ออกจาก URL ของ Codeigniter เอามาบันทึกไว้ซะเลย เพราะสร้างโปรเจ็คใหม่ทีไร เป็นต้องค้นหาใหม่ทุกที วิธีการก็ง่ายๆ ครับ แต่มีข้อแม้ว่าโฮสที่เราใช้ต้องเปิด mod_rewrite ด้วยนะครับ (ส่วนมากก็เปิดอยู่แล้วครับ) แค่สร้างไฟล์ .htaccess แล้วก็เซฟไว้ที่โฟลเดอร์ของ Codeigniter ที่เราติดตั้งไว้

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน glob ของ PHP

ช่วงนี้ได้งานเกี่่ยวกับเรื่องรูปภาพมา ผมก็ไม่ค่อยได้จัดการกับรูปภาพที่แสดงบนเว็บบ่อยเท่าไหร่ ประมาณว่าเว็บตัวเองก็มีแค่บล็อก Imooh.com นี่แหละครับ ก็ไม่ได้คิดเรื่องประสิทธิภาพการโหลดรูปภาพอะไรมากมาย ถ้ามี UIP ซัก 100k/วัน ก็ว่าไปอย่างครับ 😛 (ทุกวันนี้นานๆ ทีจะมีคนหลงเข้ามา ฮ่าๆๆ) แต่สิ่งที่เราต้องการเวลามาตามหาก็ใช่ว่าจะหาเจอปุ๊บปั๊บเลย (สัจธรรมของโลกอีกอย่างหนึ่งที่ผมเจอประจำ)

รันคำสั่ง command line ด้วยฟังก์ชัน exec ของ PHP

ฟังก์ชัน exec ของ PHP เป็นอีกฟังก์ชันหนึ่งที่น่าสนใจครับ เพราะถ้าเกิดเราต้องการให้เจ้า PHP ไปเรียกใช้คำสั่ง command line และจะคืนค่ากลับ (return)มาเป็น string บรรทัดสุดท้ายที่ได้จากการรันคำสั่ง $command ไปดูรูปแบบการใช้งานและตัวอย่างการใช้งานครับ

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน extract ของ PHP

อีักฟังก์ชันนึงที่น่าสนใจของ PHP ที่ผมพึ่งไปเจอมาจากการแกะโค้ดของ wordpress โดยฟังก์ชันนี้จะทำการสร้างตัวแปรที่สอดคล้องกับคีย์ของอาเรย์ที่เป็น argument ของฟังก์ชันนี้