บทความนี้เราจะมาลองสร้าง category suggestion ด้วย percolate query ของ Elasticsearch กัน ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจกับ percolate query ก่อนว่ามันทำงานยังไงนะครับ ปกติแล้วเราจะเก็บข้อมูลของสินค้าหรือบทความของเราไว้ที่ Elasticsearch แล้วค้นหาสินค้าหรือบทความนั้นๆ ด้วยการสร้าง query ขึ้นมาจากคำค้นหาที่เราต้องการ
บทความที่เกี่ยวข้องกับ: elasticsearch
การสร้าง Custom Analyzer ของ Elasticsearch
เราได้พูดถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการเลือกใช้งาน Elasticsearch Analyzer กันแล้วในบทความที่แล้ว ซึ่งทางทีมพัฒนาของ Elasticsearch ก็ได้สร้าง Analyzer มาให้เราได้เลือกใช้มากมายเลยทีเดียว หรือถ้าเกิด Analyzer ที่เตรียมไว้ให้ยังไม่โดนใจ Elasticsearch ก็ยังมีความยืดหยุ่นมากพอให้เราสามารถสร้าง Analyzer ขึ้นมาใช้เองได้บทความนี้เราจะมาพูดถึงโครงสร้างและวิธีการสร้าง Analyzer ขึ้นมาใช้เองกัน
Elasticsearch เลือก analyzer ผิดชีวิตเปลี่ยนนะจ๊ะ
ในบทความนี้จะมาคุยกันเกี่ยวกับ analyzer ใน Elasticsearch กัน แต่ไม่ขอลงลึกมากนะเดี๋ยวจะไม่สนุกกัน ^^ เจ้า analyzer มีหน้าในการวิเคราะห์ (แหนะเล่นกันตรงๆ เลย) ประโยคหรือกลุ่มคำที่ถูกส่งเข้าไปหามันทั้งตอนที่เรา index ข้อมูลและตอนที่เราค้นหาข้อมูล เพื่อแบ่งให้เป็นคำๆ เช่น “This is a Elasticsearch Book” ก็อาจจะกลายเป็น “elasticsearch, book” ซึ่งจะกลายเป็นคำยังไงบ้างนั้นก็ขึ้นอยู่กับ analyzer แต่ละตัว
Apache Spark เก็บข้อมูลเข้า Elasticsearch
Apache Spark เป็นระบบประมวลแบบ cluster ซึ่งมี API ให้เราใช้ได้หลายภาษาอยู่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความถนัดของเราเลย ไม่ว่าจะเป็น JAVA, Scala, Python, R และมีการปรับปรุงให้รองรับ Graph processing ด้วย
วิธีแก้ปัญหา No Access Control Allow Origin Elasticsearch
สำหรับเหล่าสาวกของ Elasticsearch ที่ต้องการจะเรียกใช้งาน Elasticsearch ด้วย Ajax อาจจะต้องพบกับปัญหา “No Access Control Allow Origin” ที่เกิดจากการเรียกข้ามโดเมน วิธีแก้ปัญหาก็ให้เข้าไปตั้งค่าของ Elasticsearch ที่ไฟล์ elasticsearch.yml