บทความนี้จะกล่าวถึงวิธีการติดตั้ง Berkeley DB v.4.7.25 บน Ubuntu 8.04 (Kernel Linux 2.6.24-24)
1. ดาวน์โหลด Berkeley DB 4.7.25 ที่ http://www.oracle.com/technology/software/products/berkeley-db/index.html
บทความนี้จะกล่าวถึงวิธีการติดตั้ง Berkeley DB v.4.7.25 บน Ubuntu 8.04 (Kernel Linux 2.6.24-24)
1. ดาวน์โหลด Berkeley DB 4.7.25 ที่ http://www.oracle.com/technology/software/products/berkeley-db/index.html
เพื่อนๆ อาจจะเคยเห็นบางเว็บไซต์จะมีการเน้นข้อความของช่องรับข้อความ (input type text) หากมีการนำเมาส์ไปคลิก ซึ่งตรงนี้จะมีประโยชน์ ถ้าหากช่องรับข้อความนั้นมีข้อความอยู่แล้วและผู้เข้าชมเว็บของเพื่อนๆ ต้องการที่จะแก้ไขก็ไม่ต้องลบข้อความนั้น เนื่องจากถ้าเน้นข้อความไว้แล้วหากมีการใส่ค่าใหม่เข้าไปค่าเดิมก็จะถูกลบไปโดยอัตโนมัติ ที่จะเห็นอยู่บ่อยๆ ก็จะเป็นข่องรับข้อความในการค้นหา
วันนี้มีการติดตั้ง tomcat โดยการดาวน์โหลดมาจาก tomcat.apache.org หลังจากติดตั้งเสร็จก็เลยลองรันดู ปรากฎว่ารันไม่ได้ซะงั้น
$ /etc/init.d/tomcat start
พอหาๆ ข้อมูลดูก็พบว่า เราต้องสร้าง script ขึ้นมาก่อน ซึ่งหน้าตาของ script มีเป็นดังนี้ครับ
ก่อนที่จะติดตั้งได้เราก็ต้องไปดาวน์โหลดเอาไลบรารี่ของ Smarty ซะก่อนนะครับ หลังจากนั้นก็แตกไฟล์ที่ดาวน์โหลดมา โดยที่ไลบรารี่ที่เราจะใช้อยู่ใน Smarty-x.x.xx/libs เอาละครับเมื่อเตรียมไลบรารี่เสร็จแล้วก็มาเริ่มกันเลย
วันนี้เจอปัญหากับเจ้า codeigniter กับ mod_rewrite เข้าซะแล้ว ตอนที่่อยู่บน localhost มันก็ทำงานดีอยู่อ่ะนะ แต่พออัพโหลดขึ้นไปบนเซิฟเวอร์จริงดันมีปัญหาซะงั้น ปัญหาก็มีอยู่ว่า จะใช้ mod_rewrite เพื่อจะทำให้ url มันเป็นมิตรกับ search engine (search engine friendly) อ่ะนะ ขั้นตอนต่างๆ ก็ทำตามคู่มือหมดทุกอย่างแล้วนี่นาแล้วมันเป็นไรของมันเนี๊ยยยย
วันนี้มารู้จักกับโครงสร้างเพจของเวิร์ดเพรสกันครับ ถ้าเป็นโครงสร้างแบบพื้นฐานเลยจะประกอบด้วย 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนหัว(header), ส่วนเนื้อหา(content) และส่วนท้าย(footer) ครับ ส่่วนมากจะใช้แท็ก div ร่วมกับ css ในการว่าตำแหน่งครับ โดยแต่ละส่วนก็จะถูกโหลดจากไฟล์ของแต่ละเทมเพลต(template)ที่เพื่อนๆ เลือกใช้กัน แล้วแต่ละส่วนประกอบด้วยอะไรบ้างมาดูกันครับ
วันนี้มาพูดถึงปัญหาอีกอย่างหนึ่งสำหรับคนที่พึ่งเริ่มออกแบบเว็บไซด์กันครับ ซึ่งก็คือ การวางเนื้อหาให้อยู่ตรงกลางหน้านั่นเอง ปัญหานี้จะเกิดกับคนที่ต้องการกำหนดความกว้างของเว็บไซด์ไว้ตายตัวครับ(fixed) บางคนพอปรับให้อยู่กลางหน้าได้แล้ว (ดูด้วย IE) โอ้โหอยู่ตรงกลางสวยงามครับ แต่พอไปดูด้วย firefox เอาแล้วไงงานเข้าจนได้ ทำไม๊ทำไมไปชิดซ้ายกันหมดเลยล่ะค๊าบบบ – -a ผมก็เลยนำเอาเทคนิคการจัดการกับ layout ให้อยู่กลางหน้ามาฝาก พร่ำมานานแล้วก็เริ่มกันเลยครับ
วันนี้ผมก็เอาวิธีการทำเมนูแนวนอนหรือ horizontal menu ด้วย css อย่างง่ายมาฝากครับ โดยเราจะใช้แท็ก ul ในการสร้างครับ อ้าวแล้วทำไม่ต้องใช้แท็กนี้ด้วยล่ะ จะเห็นว่าถ้ามีการใช้แท็ก table จะต้องมีการเขียนโค๊ดเยอะจะทำให้ขนาดของไฟล์เราใหญ่และใช้เวลาในการโหลดนานครับ ถ้าเราสังเกตดี ๆ จะเห็นว่า บริษัทที่รับออกแบบเว็บไซต์จะมีการอ้างด้วยว่า ไม่ได้ใช้แท็ก table ในการสร้าง layout เหตุผลที่ผมคิดก็เท่าที่ได้กล่าวมานั่นแหละครับ ถ้าใครคิดออกว่าเพราะไรอีกก็อย่าลืมเอามาแลกเปลี่ยนกันนะครับ เอาล่ะ บ่นมานานแล้ว งั้นเราก็เริ่มกันเลยแล้วกันนะครับ ก่อนอื่นเราก็ต้องสร้างส่วนที่เป็น html ก่อนนะครับ